breaking news

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดสัมมนา ครั้งที่ 7 “บทบาทเอกชนกับการพัฒนาที่ยังยืน”

เมษายน 9th, 2019 | by administrator
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดสัมมนา ครั้งที่ 7 “บทบาทเอกชนกับการพัฒนาที่ยังยืน”
About PIM
0

           สัมมนาในหัวข้อ PIM’s Work-based Education Forum ครั้งที่ 7 เรื่อง “Work-based Education for Sustainability Education for Sustainability การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง การพัฒนาทุนมนุษย์และความยั่งยืน 3 มิติ

           เป็นความร่วมมือกันของธุรกิจและภาคการศึกษา”ผู้บริหารเครือเจริญโภคภัณฑ์ โดยหัวหน้าคณะผู้บริหารมาอธิบายและสื่อสารองค์กรในเครือเจริญโภคภัณฑ์ และผู้บริหารหนุ่มรุ่นใหม่ไฟแรง “ดร.ธีระพล ถนอมศักดิ์ยุทธ” นักคิดเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในหน้าที่การขับเคลื่อนความยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์โดยการผลักดันบริษัทเรือ เข้าสู่การพัฒนาอย่างยังยืนในปี 2563 มkอธิบายบทบาทเอกชนกับการพัฒนาที่ยังยืน

           ดร.ธีระพล ถนอมศักดิ์ยุทธ อธิบายถึงกลไกในการทำงานเมื่อเวลามีเท่าเดิมอยากทำอะไรมากขึ้นแต่จะทำยังไงถึงจะเกิด Impact เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงได้มากขึ้นและในปัจจุบันนี้เป็นยุคที่ทำอะไรคนเดียวไม่ได้ ดังนั้นจึงเปรียบเทียบกับเครือเจริญโภคภัณฑ์ที่เป็นบริษัทที่มีขนาดใหญ่องค์กรที่มีคนหลายแสนคนที่น่าจะทำทุกอย่างได้แบบไม่ประสบปัญหา แต่สิ่งหนึ่งที่คนมักจะลืมไปเลยคือว่าจริงๆทุกองค์กรในโลกนี้มันต้องเริ่มจากองค์กรขนาดเล็กเครือเจริญโภคภัณฑ์เองก็ไม่ต่างจากบริษัท เริ่มจากต้นไม้ขนาดเล็กเริ่มจากการที่เกิดไอเดียในการทำธุรกิจ แต่กว่าต้นไม้จะโตกันไม่ได้นี่มีสองส่วนที่สำคัญจริงๆแล้วสามส่วนส่วนที่หนึ่งคือส่วนของเมล็ดพันธุ์ที่มีวันนี้

“เครือเจริญโภคภัณฑ์มีอายุ98ปี ผ่านวิกฤติและผ่านมาได้การที่ต้นไม้ตอนเล็กๆจะกลายมาเป็นรายใหญ่ได้วันนี้ผมอยากจะเล่า stories เรื่องราวของต้นไม้ต้นนี้ นอกจากเมล็ดพันธุ์ดีแล้ว ก็ต้องมีดินที่ดีด้วย มีคำพูดอยู่ว่าเรื่องของสามประโยชน์ ก็คือทำธุรกิจที่ไหนก็จะต้องทำให้กับประเทศสองสร้างประโยชน์ให้กับประชาชนสุดท้ายเธอจะเป็นประโยชน์ต่อบริษัทการทำประโยชน์ให้กับประเทศก็ไม่ต่างกับอะไรกับต้นไม้ที่จะโตคือการทำให้ดินดีไปอยู่ที่ไหนไปตั้งรกรากที่ไหน แล้วก็ต้องมีความมานะอดทนในการทำเมล็ดพันธุ์ก็คือการฟังดีเอ็นเอเข้าไปเรื่องของคนซึ่งมากๆก็คือ Work-based Education”

           สตาร์ทอัพหรือการทำธุรกิจทุกอย่างต้องมี คือความอดทนย้อนกลับไปในยุค 98 ปีที่แล้วยุคนั้นก็เป็นสตร์าทอัพสำหรับคนที่จะเริ่มทำธุรกิจคือการ ตอบโจทย์สังคมแต่มีคนอยากตอบโจทย์สังคมหลายอย่าง เช่นเอาซีพีอยู่ในกรุ๊ปกลุ่มอาหารใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลกบริษัทไทยสิ่งที่ตามมาจากการเป็นอันดับสี่ของโลกคือ ความคาดหวังสูงเชื่อใจน้อยลงมันก็บอกว่าคุณบริษัทขนาดใหญ่ ต้องทำอะไรมากกว่าทำธุรกิจขนาดใหญ่ภาครัฐโอนเพราะฉะนั้นเหลือทำแค่มิติเดียวคือการสร้างรายได้แต่ต้องให้มันสมดุลย์เรื่องสังคมสิ่งแวดล้อม

           ดร.ธีระพล ถนอมศักดิ์ยุทธ “กล่าวว่าหลักด้านมาเก็ตติ้ง คนเราเป็นยุคที่นี่อยากได้ต้องได้เลย ปรากฏว่าธุรกิจส่วนใหญ่เดี๋ยวนี้คน เซิร์ช เวลาพี่ถามคือสี่ทุ่มเค้าโทรไปที่บริษัทไม่อยู่ในเวลาทำการกรุณามาทำการใหม่ มันไม่ได้มันอยู่ในกฎเกณฑ์ policy จุดเริ่มต้นคือ การแคร์กันและกัน การสร้างหัวใจที่มีความยั่งยืน ก็คือการสร้างความยั่งยืนในองค์กรได้ปลุกความยั่งยืนในใจของเด็กนักศึกษาได้เพื่อให้เขาต่อไปมิติในการทำงานมันต้องได้ใจที่ไม่ใช่ว่าท๊อปดาวแล้วคุณต้องตามลืมการปลุกฟังหัวใจ อีกส่วนที่ผมอยากให้หลายเรื่องความยั่งยืนเรื่องของการสร้างคน”


รองคณะกรรมการ​ผู้​จัดการ​อาวุโส​ บมจ.ซีพี​ ออลล์

           คุณ​ สุวิทย์​ กิ่งแก้ว​ รับผิดชอบด้านการพัฒนา​ความยั่งยืน​เป็นผู้ขับเคลื่อน​โครงการ​ต่างๆมากมาย​ ไม่ว่าจะเป็นโครง​การลดใช้ถุงพลาสติก​  โครงการลดใช้พลังงานเพื่อลดการปล่อยก๊าซ​เรือนกระจก​ โครงการช่วยเหลือกระเกษตรกร​  ให้ทำสินค้า OTOP หรือ SME เพื่อส่งต่อร้านเซเว่นอีเลฟเว่น ทุนการศึกษา​เพื่อช่วยเด็กและเยาวชน​ในถิ่นทุรกันดาร และยังมีตำแหน่งทางสังคมมากมายไม่ว่าจะเป็น  นายกสมาคม​การค้าปลีก​ และSMEทุนไทย​ กรรมการส่งเสริมคุณธรรม​แห่ง​ชาติ​  กรรมการสภา​สถาบัน​การ​จัดการ​ปัญญา​ภิวัฒน์​ กรรมการ​ส่งเสริมกิจการ​มหาวิทยาลัย​สงขลานครินทร์​ และที่สำคัญยังดำลงตำแหน่งเลขาธิการ​สมาคม​หมากล้อม​แห่งประเทศไทย สัมมนาในหัวข้อ​ เซเว่นอีเลฟเว่นองค์การที่ผ่านการรับรองตามดัชนี​ระดับโลก ​DJSI กับภาคการศึกษา​ที่ร่วมมือกับแบบ Work-based และหัวหน้าคณะผู้บริหาร​ความยังยืนของทรู ได้เชิญ​อาจารย์​มหาวิทยาลัย​ทั่วประเทศ​ มาฟังต่อจาก ด.ร. ธีระพล ถนอมศักดิ์ยุทธ ทีรพล​ ในเรื่องของความยั่งยืนในและเรื่อง DJSI หรือเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากร​มนุษย์​  ในเรื่องของ​ DJSI บริษัท​ที่ได้มี ​ทรู, CPF, CPALL ในส่วนเนื้อหาในเรื่อง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม การกำกับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance)

           เรื่องความยั่งยืน​ คืออะไร​คุณ สุวิทย์ กิ่งแก้ว กล่าวอธิบายว่า “คือ​บริษัท​ที่อยู่​ได้ตลอด​ แต่เรามองว่า​ เศรษฐกิจ​ สังคม​ สิ่งแวดล้อม​ นั้นคือหลัก​การที่เป็นสากล​ แต่ว่าในประเทศไทยจะมีอีกตัวหนึ่งที่ให้ความสำคัญกลับการกำกลับดูแลกิจการที่ดี​ แต่จะเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าธรรมาภิบาล​ อีกชื่อคือ CG คนในสังคมไทยมองว่า​ภาคธุรกิจ​เอกชนเป็น​ผู้​ชอบเอารัดเอาเปรียบ​สังคมเพราะฉะนั้น​ ต้องอยู่ในภาพลักษณ์​ช่วยหรือสังคม​ ต้องเป็นบริษัท​ที่ดีไม่เอารัดเอาเปรียบ​ขายสินค้าราคาไม่แพง​หลายๆบริษัท​รวมถึง CPALL

           เอาตัวของ CG มานำบริษัทขึ้นมาก่อนแล้วเอาความยั่งยืน​ตาม​ เพราะฉะนั้น​จะมีคณะกรรมการ​ระดับ​บอทก็คือผู้​บริหารระดับสูง​ของบริษั​ท​ ก็จะมาขับเคลื่อนในเรื่องการกำกับดูแลกิจการที่ดีและความยั่งยืนขององค์กร​ และในตัวของเศรษฐ​กิจ​สังคมสิ่งแล้วล้อมในแง่ของธุรกิ​จ​จะมองว่าธุรกิจ​จะดำเนินอย่างไรรูป​แบบไหนดีไม่ดี​ มีผลตอบแทนอะไรแต่ในรูปแบบความยั่งยืนเราจะมาพูดถึงในเรื่องดูแลลูกค้ายังไงสร้างความสัมพันธ์​ที่ดีต่อลูกค้ายังไงในเรื่องความเสี่ยง​ หรือภัยพิบัติ​ต่างๆ​ เรื่องรุนแรงต่างๆที่เกิดขึ้นและสิ่งที่เราจะหลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือในเรื่องของเศรษฐ​กิจ​พอเพียงในเรื่องสังคม​ ได้ดี”ดร.ธีระพล ถนอมศักดิ์ยุทธ” ได้อธิบายไปแล้วว่าเราทำอะไรไปบ้างในเรื่องของการศึกษา​ และก็ในเรื่องของ Human Rights ยิ่งธุรกิจ​ที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ​

           จะพูดถึง​ รวมถึงรัฐบาลประเทศไทย​ เรื่อของการปฎิบัติ​ต่อแรงงาน​ พนักงาน​  เรื่องของการช่วยเหลือชุมชนสังคม​ และ​ ธุรกิจ​กาแฟของAllCafe ที่ผลิตที่บ่อเกลือเเละขายที่ออลล์ส่งเสริมการปลูกกาแฟในจังหวัดนานทดแทนการปลูกข้าวโพด​ ทดแทนการทำลายป่า​ ในแง่ของประเทศชาติ​ลดปัญหา​การทำลายทรัพยากร​ธรรมชาติ​ ในขณะเดียวกับ​เกษตรกร​ก็ได้ประโยชน์​จากการมีรายได้​เพิ่มขึ้น​ และบริษัท​จะได้​เมล็ด​กาแฟ​ที่​ดี​ นั้นเป็นเรื่องของ​ CSI ในด้านสิ่งแวดล้อม​ ทางบริษัท​มีการณรงค์​การเปลี่ยนเเปลงสภาพ​ภูมิอากาศ​ pm2.5 ที่มีค่าสูงในจังหวัด​ทางภาคเหนือ​ ซึ่งมาจากปัญหาการใช้ทรัพยากร​​มากเกินไป

และอีกหนึ่งปัญหา​คือการใช้ถุงพลาสติก​เป็นตัวทำลายสภาพแวดล้อม​

           ในส่วนของ CG ว่าบริษัท​เราดีอย่างไร​ ในส่วนที่ฮิต​มากที่สุดคือการต่อต้านคอร์ป​ชั่น​ ตัว CG เป็นปะเด็นหลักของประเทศ​ชาติ​เลย​ ตอนนี้เรามีปัญหา​ทางด้านการเมือง​ทำให้เกิดปัญหา​การไม่ไว้วางใจ​กันและกัน​

           อีกส่วนคือแนวทางการปฏิบัติ​ที่ดีขององค์กร​ของผผู้​บริหารเราอาจจะมีประเด็น​หลายๆประเด็น​ และเมื่อเรา​ทำด้านความยั่งยืนไปนานๆเราจะรู้ได้อย่างไรดังนั้นเราจึงต้องสมัคร​เป็นเมมเบอร์​ในหลายๆองค์กร​ แต่ที่อยากจะบอกมีอยุ่​3ตัว ในที่นี้คือในตัวของ 1.DJSI 2. MSCI 3. FTSE4Good 4.CDP  เป็นดัชนีความยั่งยืนที่มีบริษัทต่างๆในโลกที่อยากสมัคร​เข้าไปเป็นสมาชิก​เพื่อส่งแบบสอบถามเพื่อประเมินบริษัท​เหล่านั้นเอง​”

           รศ.ดร.สมภพ​ มานะรังสรรค์​ ดำรงตำแหน่ง​อธิการบดี​การจัดการ​ปัญญา​ภิวัฒน์​ และยังมีตำ​แหน่ง​ที่​ปรึกษา​สูงจุฬา​ลง​กร​มหาวิทยาลัย​  ที่ปรึกษา​ศูนย์​ศึกษา​เศรษฐศาสตร์​ ที่ปรึกษา​นิติศาสตร์​สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์​ประธาน​ฝ่ายศึกษา​ศาสตร์​สภาธุรกิจ​ไทยจีน​ มาสัมมนา​หัวข้อ pim ​ในบทบาท ​Corporate University เพื่อองค์กร​ที่ยั่งยืน​ สาเหตุ​ที่เราต้องพูด​ถึงเพราะปัจจุบัน​การบริหาร​จัดการความยั่งยืนนั้นยากลำบาก​ภายใต้ SuperDisruption ของเทคโนโลยี​ 6 เรื่อง 1. technology disruption 2. Economy disruption 3. Business disruption 4. Social disruption 5. จีโอโพลิติก  ดิสรัปชั่น 6. moral disruption ที่โลกต้องเผชิญในปจจุบัน

Share This:

Comments are closed.