(วันที่ 5 เมายน 2562) โครงการปิ๊งส์ โดยเผยงานสื่อศิลปวัฒนะธรรมสร้างเสริมสุชภาพ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการควบคุมครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และสำนักโรคไม่ติดต่อ
นักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ได้เข้าร่วมประกวดคลิปสั้น สารคดีสั้น และหนังสั้นด้วยมือถือ
โครงการ “อย่าปล่อยให้เหล้ามาลวงเรา”
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กรมการขนส่งทางบกกองทุนเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนสำนักงานตำรวจแห่งชาติกรมประชาสัมพันธ์สมาคมผู้กำกับภาพยนตร์ไทยและเครือข่ายคณาจารย์มหาวิทยาลัยชวนเยาวชนหรือบุคคลทั่วไป 15-25 ปีประกวดคลิปสั้น สารคดีสั้น และหนังสั้นด้วยมือถือ โครงการอย่าปล่อยให้เหล้ามาลวงเรา ภายใต้โจทก์ กรุ๊ปเลือดเมา = คุก และหยุดโฆษณาแฝงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จากข้อมูลของศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนและกระทรวงสาธารณสุข
เกี่ยวกับการเกิดอุบัติเหตุการบาดเจ็บและการเสียชีวิตในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2,562 ที่ผ่านมาพบว่าการเกิดอุบัติเหตุการบาดเจ็บและการเสียชีวิตของคนไทย เทียบกับปีที่ผ่านมาพบยอดผู้เสียชีวิตจำนวน 4,631 รายเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 40 รายจำนวนผู้บาดเจ็บ 3,829 รายลดลง 176 คนและจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุมีจำนวนลดลง 50 ครั้งวงเล็บจาก 3841 ครั้งเป็น 3791 ครั้ง) โดยผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตพบว่าเป็นเพศชายร้อยละ 65.06 ซึ่งกลุ่มอายุ 15 ถึง 19 ปีเป็นกลุ่มเสี่ยงที่เกิดการบาดเจ็บและเสียชีวิตมากที่สุดร้อยละ 17.59 สำหรับการบาดเจ็บและการเสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดในกลุ่มผู้ใช้รถจักรยานยนต์ร้อยละ 79.97 นอกจากนี้ยังพบว่าการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการดื่มสุราของเด็กอายุ ต่ำกว่า 20 ปีมีจำนวน 1,445 รายคิดเป็นร้อยละ 17.47 ของผู้ดื่มสุรา
ทั้งหมดด้วยเมื่อเป็นเช่นนี้สังเกตได้ว่าจำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตแต่ละวันในช่วงเทศกาลมีจำนวนใกล้เคียงกับวันอื่นนอกจากเทศกาลการเน้นบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดและ มีการปรับระบบการรณรงค์สื่อสารสร้างความเข้าใจให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องอย่างจริงจังตลอดทั้งปีทุกวัน ไม่เฉพาะเทศกาลจึงเป็นเรื่องที่ต้องทำอย่างต่อเนื่อง คลิปสั้น สารคดีสั้นและ หนังสั้นด้วยมือถือ ของกลางอย่าปล่อยให้เหล้ามาลวงเรา กรุ๊ปเลือดเมา = คุก และหยุดโฆษณาแฝงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ก็น่าจะเป็นอีกหนึ่งทางออกที่ต้องเกิดขึ้น
โดยนายแพทย์นิพนธ์ชินานนเวชผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กรมควบคุมโรคและทรวงสาธารณสุข
กล่าว เกี่ยวกับการหยุดโฆษณาแฝงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ว่าการสร้างความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้องในสถานการณ์การตลาดการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ที่พยายามเลี่ยงกฎหมายในการโฆษณาสร้างแบรนด์ผ่านตราสัญลักษณ์ที่ถูกจำกัดตามมาตราในการควบคุมการโฆษณาและ การประชาสัมพันธ์สำหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปในพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พ.ศ. 2551 ว่าด้วยโฆษณาแล้วก็โฆษณาต้องเป็นเรื่องสร้างสรรค์สังคมแล้วก็ต้องโฆษณาในสิ่งที่ปรากฏ
ในกฎกระทรวงตามระยะเวลาตามรูปแบบที่ทางกระทรวงสาธารณสุขโดยกรมควบคุมโรคได้กำหนดเท่านั้นแต่ในปัจจุบันบริษัทเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเป็นเครื่องดื่มตามกฏหมายอาหาร แล้วใช้สัญลักษณ์ของเครื่องดื่มอาหารมาโฆษณาแพงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ซึ่งเป็นช่องว่างของกฎหมายที่หักโฆษณาว่าเป็น เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์โดยตรงเลยก็จะไม่มีปัญหาแต่ต้องหาวิธีการและมาตราการที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหาก่อนตรงนี้เหมือนกับน้ำดื่มโซดาที่ใช้โลโก้คล้ายกันแต่เจตนาโฆษณาสินค้าอื่นๆในนั้น ดังนั้นอาจต้องใช้กฎหมายอาหารเข้ามาดำเนินการแทนโดยดูว่าเป็นการโฆษณาเกินจริงหรือไม่อย่างไร
ทั้งนี้อยู่ที่เจตนาหากโฆษณาว่าเป็นเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์โดยตรงเลยก็จะไม่มีปัญหาแต่การโฆษณาว่าเป็นเบียร์ไม่มีแอลกอฮอล์ต้องมีการตรวจสอบต่อไปซึ่งการเผยแพร่กลยุทธ์เหล่านี้ให้สังคมได้เข้าใจผ่านสื่อที่เด็กและเยาวชนจะสร้างสันขึ้นนี้ก็อาจจะเป็นช่องทางหนึ่งที่น่าสนใจและควรต้องเร่งทำ
ด้านนางนงนุชตันติทำรองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค
กล่าวเกี่ยวกับกรุ๊ปเลือดเมา = คุกว่าจากสถิติการเกิดอุบัติเหตุที่ผ่านมาพบว่าสาเหตุหลักมาจากการเมาแล้วขับในการรณรงค์ที่ผ่านมามีการบังคับใช้กฎหมายทั้งในระดับที่ยังไม่เกิดอุบัติเหตุคือการตั้งด่านตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ซึ่งหากมีการเรียกตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ทางลมหายใจแล้วไม่ยอมเป่าถือว่าเมาศาลอาจพิพากษาลงโทษจำคุกหรือให้ใส่กำไลคุมประพฤติระหว่างรอการลงโทษและหากยป่าวแล้วพบว่ามีแอลกอฮอล์เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ถือว่า “เมา”เช่นกัน มีความผิดตามกฏหมายจราจรทางบกมีโทษจำคุกหนึ่งปีปรับตั้งแต่ 10,000-20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับและศาลสามารถสั่งพักใช้ใบขับขี่ ไม่น้อยกว่าหกเดือนหรือเพิกถอนใบขับขี่และสามารถยึดรถไว้ไม่เกินเจ็ดวันและหากดื่มแล้วขับเกิดอุบัติเหตุและผู้ขับขี่ไม่ยอมเปล่าและไม่ยอมให้ตรวจเลือดสันนิษฐานว่าเมาสุราทุกรายและ ในกรณีที่มีผู้ได้รับบาดเจ็บรักษาตัวในโรงพยาบาล หรือเสียชีวิตมีสิทธิ์ร้องขอให้พนักงานสอบสวนส่งตรวจเลือดผู้ขับขี่ทั้งสองฝ่ายซึ่งสถานพยาบาลของรัฐบาล สามารถตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดทุกรายใน 4 ชั่วโมงได้ซึ่งโทษสำหรับผู้ที่มีใครแอลกอฮอล์เกิน 50 บริกรรมเปอร์เซ็นต์ ถ้าขับรถไปชนผู้อื่นทำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายทางร่างกายและจิตใจมีโทษจำคุกหนึ่งถึงห้าปีปรับตั้งแต่ 20,000-100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับและศาลสามารถสั่งพักใช้ใบกับคีย์ไม่น้อยหนึ่งปีหรือเพิกถอนได้กับขี่ไปเลยถ้าขับรถชนผู้อื่นได้รับอันตรายอย่างสาหัสมีโทษ จำคุกสองถึงหกปีปรับตั้งแต่ 40,000-100,002 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับและศาลสามารถสั่งพักใบขับขี่ไม่น้อยกว่าสองปีหรือเพิกถอนได้กับขี่ไปเลยแต่ถ้าขับรถชนผู้อื่นถึงแก่ความตายมีโทษจำคุกสามถึง 10 ปีปรับตั้งแต่ 60,000 -200,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลสามารถสั่งเพิกถอนใบขับขี่เลยแต่ในกรณีผู้ขับขี่อายุน้อยกว่า 20 ปีหรือใช้ใบขับขี่ชั่วคราวตรวจพบระดับแอลกอฮอล์ในเลือดเกิน 20 มิลลิกรรมเปอร์เซ็นต์ถือว่าผิดกฎหมาย
“อยากให้เด็กและเยาวชนที่สนใจก้าวเข้ามาสร้างสื่อสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องหนีออกมาเยอะเยอะเพื่อเป็นกระบอกเสียงอย่างน้อยเด็กเด็กได้รู้ว่าดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แล้วไปขับรถ แล้วเกิดอุบัติเหตุจะต้องถูกตรวจแบบนี้เชื่อว่าเมื่อเค้ารู้พ่อแม่ก็น่าจะมีส่วนรับรู้และคอยช่วยตักเตือนดูแลไปด้วยเป็นเหมือน การประชาสัมพันธ์ไปในตัวอย่างหนึ่งเช่นกัน” นางนงนุช ตันติธรรม กล่าว
ด้านนายดนัย หวังบุญชัย ผู้จัดการแผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กล่าวว่า เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่ใช้โทรศัพท์หรือสมาร์ทโฟน ในปุจจุบัน เราจึงสนับสนุนให้เด็กๆ มาทำงานถ่ายทำแล้วก็ตัดต่อคลิปด้วยมือถือ ในโครงการการประกวดคลิปสั้น สร้างสารคดีสั้น และหนังสั้นด้วยมือถือ โครงการ “อย่าปล่อยให้เหล้ามาลวงเรา” โดยในการทำงานทุกกระบวนการจะมีพี่เลี้ยงในเรื่องหนังสั้นจากสมาคมผู้กำกับภาพยนต์ไทย พี่เลี้ยงจากรายการสารคดีมืออาชีพ
รายการคลิปสั้นมืออาชีพ. มาให้คำแนะนำตลอดโครงการ